จาก Eastern Seaboard สู่ EEC กฏหมายที่หนุนตลาดอสังหาฯ


“Eastern Seaboard คือรากฐานของการสร้างตัวทางด้านเศรษฐกกิจของประเทศไทย จากการที่ประเทศไทยมีการพัฒนาทางด้านเศรฐกิจ จนเกิดแนวทางในการจัดการและจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจ สู่การผลิดอกออกผลใน EEC”

การพัฒนาพื้นฐานคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ประชาชน รวมถึงพื้นฐานการผลิต การจำหน่าย ตั้งแต่ปี 2504 ส่งผลให้ระบบเศรษฐกิจประเทศไทยประสบความสำเร็จในการขยายฐานการผลิตสินค้า การส่งออด ได้นำพากประเทศจากกลุ่มประเทศที่มีรายได้น้อยสู่ประเทศกำลังพัฒนารายได้ปานกลาง

Eastern Seaboard

Eastern Seaboard คือโครงการ พัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก ชื่อเต็ม (Eastern Seaboard Development Program : ESB) เป็นหนึ่งในโครงการสำคัญ ที่ช่วยพัฒนาอุตสาหกรรมในเขต 3 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชลบุรี, จังหวัดระยอง, และจังหวัดฉะเชิงเทรา คอยช่วยกระจายกิจกรรมทางด้านเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมออกสู่ภูมิภาคเพื่อลดความแออัดและการกระจุกตัวของเขตอุตสาหกรรมในพื้นที่กรุงเทพมหานครและจังหวัดใกล้เคียง ช่วยพัฒนาและผลักดันฐานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม มุ่งเน้นการผลิตสินค้าสำเร็จรูปเพื่อส่งออกมากขึ้น นำไปสู่การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม และการกระจายอึตสาหกรรมไปสู่ส่วนภูมิภาค ซึ่งโครงการพัฒนาพื้นที่ชายฝั่งทะเลภาคตะวันออก Eastern Seaboard ได้ดำเนินตามแผนมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉฉบับที่ 5 (พ.ศ. 2525-2529) สู่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530-2534) รวมไปถึงการตั้งคณะกรรมการพัฒนาพื้ที่บริเวณชายฝั่งทะเลตะวันออก (กอพ.) เพื่อมาทำหน้าที่กำกับดูแล กำหนดนโยบาย รวมไปถึงอนุมัติแผนงานดำเนินงานของโครการต่างๆ ซึ่งเป็นส่วนสำคญในการปลักดันแฟนพัฒนาชายฝั่งทะเลตะวันออก มีการผลักดันการลงทุนให้ประเทศไทยในด้านอุตสาหกรรม และโครงสร้างพื้นฐานเช่น ถนน ท่าเรือ รถไฟ อ่างเก็บน้ำ ควบคู่กันมา จนทำให้พื้นที่ชายฝั่งทะเลตะวันออกกลายเป็นจุดยุทธศาสตร์ที่สำคัญต่อการขับเคลื่อเศรษฐกิจของประเทศจนถึงปัจจุบัน

หลังจากบรรจุ นโยบาย ได้มีการเปิดให้นักลงทุนภาคเอกชนที่สนใจเข้ามาลงทุน จึงเกิดแผนปั้น 3 จังหวัด EEC

เมืองอัจฉริยะ ดังอสังหาฯ การค้าปลีก ก่อสร้าง จนเกิดการ ขยายลูกค้า ทำเลทอง EEC หรือโซนพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ครอบคลุมจังหวัด ชลบุรี, ระยอง, และฉะเชิงเทรา ในแง่การลงทุนอหังหาริมทรัพย์ หลังจาก 6 เดือนแรก ปี 2565 สะท้อนความเชื่อมั่นของต่างชาติที่เข้ามาใน EEC มูลค่ามากถึง 29,461 ล้านบาท เป็นสัดส่วนสูงที่สุดใบประเทศ ถึง 42% จาก 69,949 ล้านบาท จึงส่งผลให้กลุ่มนักลงทุนทั้งในไทยและต่างประเทศ เกิดความเชื่อมั่นในการลงทุนมากขึ้น ประกอบกับ ล่าสุดเมื่อช่วงเดือนกุมภาพันธ์ 2561 สภานิติบัญญัติแห่งชาติ (สนช.) ได้มีมติเห็นชอบร่างพระราชบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. …. ซึ่งยิ่งเป็นปัจจัยหนุนให้เศรษฐกิจโซนภาคตะวันออกเกิดการเติบโตอย่างต่อเนื่อง โดยเฉพาะกลุ่มตลาดที่อยู่อาศัย ที่เข้ามารองรับความเจริญของพื้นที่ ความชัดเจนการลงทุนระบบคมนาคม ของหน่วยงานภาครัฐ ทั้งการเขื่อมต่อระบบรถไฟฟ้าความเร็วสูงจากกรุงเทพฯ สู่ EEC รวมไปถึงการเปิดใช้บริการของสนามบินอู่ตะเภา จึงส่งผลให้ ด้านการท่องเที่ยวและอสังหาฯ เติบโตต่อเนื่อง โดยเฉพาะระดับความต้องการบ้านพักหลังที่ 2 ทั้งกลุ่มผู้ซื้อคนไทยและต่างชาติมีมากขึ้น โดยสามารถสังเกตได้จากมูลค่าของคอนโดฯ ซึ่งเป็นรูปแบบอสังหาฯ ยอดนิยมอยู่ ณ ขณะนี้ มีการปรับตัวเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง สูงสุดอยู่ที่ 180,000 บาท / ตร.ม. ใกล้เคียงกับคอนโดฯ ในย่านสุขุมวิทตอนปลายของกรุงเทพฯ .

จุดเด่นของคอนโดเพื่อการลงทุน

จะอยู่ตรงที่ผู้ลงทุนที่ซื้อเป็นเจ้าของจะมีสิทธิได้รับผลตอบแทนจากการที่โครงการรับเอาไปบริหารจัดการปล่อยเช่า โดยอาจทำเป็นโรงแรมหรือเซอร์วิสอพาร์ตเมนต์ให้แทน โดยผลตอบแทนนี้จะได้รับแน่ๆ ตามข้อตกลงหรือสัญญาที่การันตีเอาไว้ ซึ่งปกติมักจ่ายออกมาในรูปของค่าเช่านั่นเอง ไม่เพียงเท่านั้นการถือครองคอนโดเพื่อการลงทุน แบบนี้ยังช่วยให้เจ้าของไม่มีภาระจ่ายค่าส่วนกลางในระหว่างการถือครอง ขณะเดียวกันก็ยังมีโอกาสกลับมาใช้ประโยชน์คอนโดฯ เพื่อพักผ่อนในยามที่ต้องการได้ด้วย และข้อดีสุดท้ายก็คือเมื่อคิดจะขายเมื่อไหร่ คอนโดฯ แบบนี้ก็มักขายได้ง่ายและได้ราคากว่าคอนโดฯ ทั่วๆไป

จุดเด่นน่าลงทุนของคอนโด โครงการ Seven Seas Condo Resort Jomtien, Seven Seas Cote d'Azur, Seven Seas Le Carnival และ Ocean Horizon ทั้ง 4 โครงการของเรา ทำเลที่ตั้ง ตั้งอยู่ใกล้หาดจอมเทียน อยู่ใกล้แหล่งท่องเที่ยว ห้างสรรพสินค้า และสิ่งอำนวยความสะดวกมากมายวิวทิวทัศน์และบรรยากาศ ด้วยการออกแบบสไตส์รีสอร์ท ส่วนกลางสวนน้ำขนาดใหญ่ ทำให้มีจุดเด่นที่ผู้พักอาศัยต้องการอย่างมาก อีกทั้งคอนโดฯ อยู่ในทำเลที่มีแนวโน้มมูลค่าเพิ่มได้ดี มาเยี่ยมชมโครงการของเราก่อนสิ